คฤหาสน์แฟร์ริเยร์ (อังกฤษ: Château de Ferrières) เป็นคฤหาสน์ที่ตั้งอยู่ที่ Ferrières-en-Brieในจังหวัดแซน-เนต์-มาร์นของฝรั่งเศส “คฤหาสน์แฟร์ริเยร์” ก่อสร้างระหว่างปี ค.ศ. 1855 ถึงปี ค.ศ. 1859 ให้แก่บารอนเจมส์ เมเยอร์ เดอ รอธไชล์ด โดยมีโจเซฟ แพกซ์ตันชาวอังกฤษเป็นสถาปนิกเป็นสถาปัตยกรรมฟื้นฟูเรอเนซองส์ และถือกันว่าเป็นสิ่งก่อสร้างที่มีความสำคัญที่สุดของฝรั่งเศสของคริสต์ศตวรรษที่ 19
ตัวคฤหาสน์ที่ตั้งเด่นอยู่บนเนินสุดตรงสุดถนนทางเข้ามีอิทธิพลมาจากคฤหาสน์เมนท์มอร์เทาเออร์สในบัคคิงแฮมเชอร์ในอังกฤษ ซึ่งเป็นคฤหาสน์ที่แพกซ์ตันออกแบบให้กับเมเยอร์ อัมเชล เดอ รอธไชล์ดผู้เป็นหลานของบารอนเจมส์ หลังจากที่ได้รับคำสั่งว่า “สร้างเมนท์มอร์เทาเออร์สให้ผมหน่อย แต่ให้ใหญ่กว่าสักสองเท่า”
คฤหาสน์แฟร์ริเยร์สร้างเป็นแบบเรอเนซองส์อิตาลีโดยแต่ละมุมบ้านมีหอประดับ รอบบ้านเป็นลานลดหลั่นที่กว้างออกไปเป็นอุทยานภูมิทัศน์และสวนขนาด 1.25 ตารางกิโลเมตร ที่เป็นส่วนหนึ่งของอาณาบริเวณป่าที่มีเนื้อที่ด้วยกันทั้งหมดราว 30 ตารางกิโลเมตรของบริเวณที่ตั้งคฤหาสน์ ภายในมีรูปสลักคนแบกเสา (แอทลาส หรือ แคริอาทิด) ที่แกะสลักโดยชาร์ลส์ อองรี โจเซฟ คอร์ดิเยร์ และภาพเขียนตกแต่งที่ควบคุมโดยเออแฌน ลามี โถงกลางที่เป็นจุดที่เด่นที่สุดในอาคารมีขนาด 37 x 60 เมตร และสูง 18 เมตร เพดานเป็นหลังคากระจกที่ให้แสงส่องเข้ามาภายในตัวอาคารได้ ห้องสมุดมีหนังสือกว่า 8,000 เล่ม เพราะความสำคัญของการเลี้ยงรับรองจึงทำให้นอกจากจะเป็นห้องพักส่วนตัวของสมาชิกในตระกูลรอธไชล์ดแล้วก็ยังมีห้องชุดสำหรับแขกอีก 80 ชุด
บารอนเจมส์สรรหางานศิลปะและประติมากรรมจากที่ต่างมาเป็นจำนวนมากที่ใช้ในการตกแต่งห้องต่างๆ ในคฤหาสน์ งานประติมากรรมหลายชิ้นสร้างโดยอเล็กซองเดรอ ฟาลกิแยร์ และ อันโตนิโอ คอร์ราดินี และต่อมาก็มาเพิ่มงานของเรอเน เดอ แซงต์-มาร์โซ.
ระหว่างสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียระหว่างปี ค.ศ. 1870 ถึงปี ค.ศ. 1871 คฤหาสน์แฟร์ริเยร์ถูกยึดโดยเยอรมันและใช้เป็นสถานที่ในการเจรจาต่อรองระหว่างออทโท ฟอน บิสมาร์คนายกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซียของสหพันธ์เยอรมันเหนือ และฌูล ฟาฟเรอรัฐมนตรีต่างประเทศของฝรั่งเศส ต่อมาระหว่างสงครามโลกครั้งที่สองฝ่ายเยอรมันก็ยึดคฤหาสน์แฟร์ริเยร์อีก แต่ครั้งนี้ได้ทำการขโมยงานศิลปะต่างๆ ที่สะสมไว้ไปเป็นจำนวนมาก คฤหาสน์ถูกทิ้งร้างมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 1959 เมื่อกี เดอ รอธไชล์ดและภรรยาคนใหม่มารี-เฮเลนเนอ เดอ ซุยเลน ฟาน นีเอฟกลับมาทำการบูรณปฏิสังขรณ์ จนคฤหาสน์กลับกลายมาเป็นสถานที่รับรองขุนนางยุโรปและทำการสังสรรค์กับดาราฮอลลีวูดในงานเลี้ยงอันหรูหราอีกครั้ง ในปี ค.ศ. 1975 กี เดอ รอธไชล์ดและภรรยาก็อุทิศคฤหาสน์ให้แก่อธิการของมหาวิทยาลัยปารีส ในปัจจุบันคฤหาสน์แฟร์ริเยร์เปิดให้สาธารณชนเข้าชมได้พร้อมกับมัคคุเทศน์ และ ในโอกาสพิเศษ
วันศุกร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2553
Vieux-château de l'Île d'Yeu
Histoire
C'est Olivier IV de Clisson, grand bâtisseur de châteaux, qui entreprit les travaux dans le but d'assurer la sécurité des Islais en cas d'invasion étrangère. La plus longue fut celle menée par le célèbre corsaire anglais Robert Knolles, qui réussit en 1355 à s'emparer du château et occupa l'île pendant 37 ans. En 1392, l'île d'Yeu sera reprise aux Anglais lors de la reconquête du Poitou par le connétable Olivier V de Clisson.
À la Renaissance, Jean V de Rieux (maître de l'île) fait ériger des enceintes bastionnées autour du château. Ces modèles de fortifications furent construits (tels qu'ils se faisaient en leur pays) par des ingénieurs italiens que François Ier avait ramenés avec lui de ses guerres d'Italie. Plus tard, Vauban reprendra, en la perfectionnant, cette architecture militaire pour la conception de ses fameux forts. Cette protection s'avérera efficace lorsqu'en 1550 débarquent, venant du nord, plusieurs milliers de soldats espagnols qui, mis en échec sous ces murs par la garnison locale, se virent contraints de reprendre la mer pour retourner vers la péninsule ibérique.
Le Vieux-château, devenu obsolète par la construction (entre 1654 et 1660) de petits forts côtiers selon la technique de Vauban, fut démantelé à la fin du XVIIe siècle, ainsi que plusieurs autres châteaux anciens des côtes françaises, par ordre de Louis XIV qui craignait que ceux-ci ne fussent pris par l'ennemi pour s'en servir de points stratégiques. Il est classé Monument historique depuis 1890.
Dans les années 1970, Maurice Esseul (originaire de l'île) entreprend la fouille puis la restauration du château. Il y tient régulièrement des conférences et organise les visites quotidiennes.
Hergé se serait inspiré du vieux-château pour dessiner celui de L'Île Noire
C'est Olivier IV de Clisson, grand bâtisseur de châteaux, qui entreprit les travaux dans le but d'assurer la sécurité des Islais en cas d'invasion étrangère. La plus longue fut celle menée par le célèbre corsaire anglais Robert Knolles, qui réussit en 1355 à s'emparer du château et occupa l'île pendant 37 ans. En 1392, l'île d'Yeu sera reprise aux Anglais lors de la reconquête du Poitou par le connétable Olivier V de Clisson.
À la Renaissance, Jean V de Rieux (maître de l'île) fait ériger des enceintes bastionnées autour du château. Ces modèles de fortifications furent construits (tels qu'ils se faisaient en leur pays) par des ingénieurs italiens que François Ier avait ramenés avec lui de ses guerres d'Italie. Plus tard, Vauban reprendra, en la perfectionnant, cette architecture militaire pour la conception de ses fameux forts. Cette protection s'avérera efficace lorsqu'en 1550 débarquent, venant du nord, plusieurs milliers de soldats espagnols qui, mis en échec sous ces murs par la garnison locale, se virent contraints de reprendre la mer pour retourner vers la péninsule ibérique.
Le Vieux-château, devenu obsolète par la construction (entre 1654 et 1660) de petits forts côtiers selon la technique de Vauban, fut démantelé à la fin du XVIIe siècle, ainsi que plusieurs autres châteaux anciens des côtes françaises, par ordre de Louis XIV qui craignait que ceux-ci ne fussent pris par l'ennemi pour s'en servir de points stratégiques. Il est classé Monument historique depuis 1890.
Dans les années 1970, Maurice Esseul (originaire de l'île) entreprend la fouille puis la restauration du château. Il y tient régulièrement des conférences et organise les visites quotidiennes.
Hergé se serait inspiré du vieux-château pour dessiner celui de L'Île Noire
วันศุกร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2553
Phonom Wan
Le Phnom Wan est un temple khmer de la province de Nakhon Ratchasima, dans l'est de la Thaïlande.
Histoire
Bien que considérablement plus petit que l'ensemble de temples du Prasat Hin Phimai situé non loin, Phnom Wan était un site religieux d'importance. En particulier, une inscription en sanscrit et en khmer, encore sur le site, nous éclaire sur l'histoire ancienne de cette région. Comme c'est le cas pour de nombreux et plus importants temples khmers, la construction s'est déroulée sur une période étendue, rendant difficile de le dater précisément, mais une inscription de 1082 montre que la majeure partie de la construction devait être être terminée à cette époque. Difficile également de déterminer à quelle divinité ce temple était dédié ; il est clair que Shiva fut la principale divinité pendant un certain temps, mais le culte de Vishnou et le Bouddhisme Mahayana furent également pratiqués, ce dernier probablement aux XIIe et XIIIe siècles.
Henri Mouhot, l'explorateur français crédité de la découverte d'Angkor, semble avoir été le premier occidental à visiter le temple, en route pour Phimai en février 1861. Dans une lettre à son frère, il écrit: "J'ai visité à neuf milles de Kôrat, à l'est, un temple nommé Penom-Wat, très remarquable, quoique bien moins grand et moins beau que ceux d'Ongkor...Penom-Wat est un charmant temple de trente six mètres de long sur quatorze de large, et dont le plan figure assez bien une croix. Il est composé de deux pavillons ou chapelles avec toit de pierre en voûte et portiques de la plus grande élégance. La hauteur des voûtes est de sept à huit mètres; la galerie en a trois de largeur intérieurement et deux de plus avec les murs. A chaque façade de la galerie se trouvent deux fenêtres à barreaux tournés. Du grès rouge et gris d'un grain assez grossier est seul entré dans sa construction, et dans plusieurs endroits, il commence à se décomposer. Sur une des portes, se trouve une longue inscription. Les frontons de toutes sont couverts de sculptures représentant les mêmes sujets à peu près que les temples d'Ongkor et du Bassette...Penom était le temple de la reine, disent les siamois; celui du roi son époux est à Pimaïe, district situé à une trentaine de milles à l'est de Kôrat ".
Restauré récemment, Phnom Wan est un temple aux belles proportions bien que sa décoration ne soit pas terminée, situé dans une zone rurale plaisante. Le sanctuaire lui-même est encore utilisé pour le culte du bouddhisme Theravada; les diverses statues du Bouddha, les offrandes et les bâtons d'encens donnent une certaine continuité à la vie de cet édifice religieux du IXe au XIe siécles
Henri Mouhot, l'explorateur français crédité de la découverte d'Angkor, semble avoir été le premier occidental à visiter le temple, en route pour Phimai en février 1861. Dans une lettre à son frère, il écrit: "J'ai visité à neuf milles de Kôrat, à l'est, un temple nommé Penom-Wat, très remarquable, quoique bien moins grand et moins beau que ceux d'Ongkor...Penom-Wat est un charmant temple de trente six mètres de long sur quatorze de large, et dont le plan figure assez bien une croix. Il est composé de deux pavillons ou chapelles avec toit de pierre en voûte et portiques de la plus grande élégance. La hauteur des voûtes est de sept à huit mètres; la galerie en a trois de largeur intérieurement et deux de plus avec les murs. A chaque façade de la galerie se trouvent deux fenêtres à barreaux tournés. Du grès rouge et gris d'un grain assez grossier est seul entré dans sa construction, et dans plusieurs endroits, il commence à se décomposer. Sur une des portes, se trouve une longue inscription. Les frontons de toutes sont couverts de sculptures représentant les mêmes sujets à peu près que les temples d'Ongkor et du Bassette...Penom était le temple de la reine, disent les siamois; celui du roi son époux est à Pimaïe, district situé à une trentaine de milles à l'est de Kôrat ".
Restauré récemment, Phnom Wan est un temple aux belles proportions bien que sa décoration ne soit pas terminée, situé dans une zone rurale plaisante. Le sanctuaire lui-même est encore utilisé pour le culte du bouddhisme Theravada; les diverses statues du Bouddha, les offrandes et les bâtons d'encens donnent une certaine continuité à la vie de cet édifice religieux du IXe au XIe siécles
Plan
La symétrie de l'enceinte et la relativement bonne conservation rendent le plan aisé à appréhender d'un coup d'œil. Une galerie rectangulaire avec des gopura de même taille au milieu de chacun des quatre côtés et quatre pavillons d'angle entourent la cour. Au centre, le sanctuaire est orienté Ouest-Est, et comprend le garbha-grha, l'antarala et le mandrapa (sanctuaire lui même, corridor et antichambre). Cette localisation centrale, bien qu'elle semble évidente, est en fait assez inhabituelle dans les temples khmers, où les gopuras Nord et Sud sont alignés avec le sanctuaire et sa tour, comme au Prasat Hin Phimai.
La seule note asymétrique est une petite structure carrée au sud du sanctuaire et légèrement décalée vers l'Ouest. Il n'y a pas de "bibliothèque", ce qui semble indiquer que la construction n'est pas complète. A l'origine une douve entourait la totalité de l'enceinte et a été notée par Lunet de Lajonquièredans son relevé, mais on peut difficilement la repérer de nos jours. Et d'ailleurs Etienne Aymonier ne l'a pas identifiée du tout. A l'est du temple se trouve un baray (réservoir) de 300 par 600 mètres, relié au temple par une avenue de 330 mètres ; des photos aériennes montrent plusieurs traces d'un baray à environ 1 kilomètre du temple.
La seule note asymétrique est une petite structure carrée au sud du sanctuaire et légèrement décalée vers l'Ouest. Il n'y a pas de "bibliothèque", ce qui semble indiquer que la construction n'est pas complète. A l'origine une douve entourait la totalité de l'enceinte et a été notée par Lunet de Lajonquièredans son relevé, mais on peut difficilement la repérer de nos jours. Et d'ailleurs Etienne Aymonier ne l'a pas identifiée du tout. A l'est du temple se trouve un baray (réservoir) de 300 par 600 mètres, relié au temple par une avenue de 330 mètres ; des photos aériennes montrent plusieurs traces d'un baray à environ 1 kilomètre du temple.
วันอังคารที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553
วิตามินซีเพื่อสุขภาพ
มาทำความรู้จักกับ “วิตามินซี” กับบทบาทสำคัญ ... คุณสมบัติที่โดดเด่นของวิตามินซี ก็คือ ความเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (Anti-oxidant) นั่นเอง โดยประโยชน์หลักๆ เมื่อร่างกายได้รับวิตามินซีเป็นประจำ คือ เพิ่มภูมิต้านทานแก่ร่างกาย ป้องกันการก่อตัวของเซลล์มะเร็ง บำรุงผิวพรรณหรือชะลอความแก่ ป้องกันโรคเลือดออกตามไรฟันหรือเหงือกอักเสบ
ในทางกลับกัน หากร่างกายเราขาด “วิตามินซี” หรือมีปริมาณวิตามินซีน้อยเกินไป อาจส่งผลทำให้เกิดอาหารเหล่านี้ได้
- เป็นหวัดง่าย ภูมิต้านทานโรคและความสามารถในการกำจัดพิษลดลง
- ผิวหนังขาดความยืดหยุ่น เกิดจุดด่างดำ ฝ้า มีเลือดออกตามไรฟัน
- อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง ประสาทสัมผัสด้อยลง
- มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งกระเพาะ ตับ และส่วนอื่นๆ
- ประสิทธิภาพของต่อมหมวกไตลดลง เป็นภูมิแพ้ได้ง่าย
- เป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคต่างๆ ง่าย บาดแผลหายยาก หากขาดมากจะเป็นโรค โลหิตเป็นพิษ
- เกิดโรคลักปิดลักเปิด
สำหรับผู้ที่กำลังกลุ้มใจ เพราะไม่รู้ว่าจะหาวิตามินซีมาทานได้จากที่ไหน ... อยากจะบอกว่า ความจริงแล้วแหล่งของวิตามินซี เราสามารถหาได้จาก อาหารที่มีอยู่ในธรรมชาติทั่วไป แต่แหล่งที่มีมาก คือ ผักสดและผลไม้ต่างๆ โดยเทียบง่ายๆ จากประเภทของอาหาร (100 กรัม) และวิตามินซี (มิลลิกรัม)
ดังนี้ มะขามป้อม 276, ฝรั่ง 160, พุทรา 154, มะขามเทศ 133, มะปรางสุก 107, มะละกอสุก 73,แคนตาลูป 33, มะนาว 25 และมะยม 8
อย่างไรก็ตาม พึงตระหนักไว้ว่า “วิตามินซี” เป็นวิตามินที่มีความสำคัญเช่นเดียวกับวิตามินอื่นๆ และร่างกายไม่สามารถผลิตขึ้นได้เอง ดังนั้น ทุกคนจึงควรบริโภควิตามินซี แต่จะมากหรือน้อยนั้นก็ขึ้นอยู่กับความต้องของแต่ละบุคคล
ในทางกลับกัน หากร่างกายเราขาด “วิตามินซี” หรือมีปริมาณวิตามินซีน้อยเกินไป อาจส่งผลทำให้เกิดอาหารเหล่านี้ได้
- เป็นหวัดง่าย ภูมิต้านทานโรคและความสามารถในการกำจัดพิษลดลง
- ผิวหนังขาดความยืดหยุ่น เกิดจุดด่างดำ ฝ้า มีเลือดออกตามไรฟัน
- อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง ประสาทสัมผัสด้อยลง
- มีภาวะเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งกระเพาะ ตับ และส่วนอื่นๆ
- ประสิทธิภาพของต่อมหมวกไตลดลง เป็นภูมิแพ้ได้ง่าย
- เป็นโรคโลหิตจาง หรือโรคต่างๆ ง่าย บาดแผลหายยาก หากขาดมากจะเป็นโรค โลหิตเป็นพิษ
- เกิดโรคลักปิดลักเปิด
สำหรับผู้ที่กำลังกลุ้มใจ เพราะไม่รู้ว่าจะหาวิตามินซีมาทานได้จากที่ไหน ... อยากจะบอกว่า ความจริงแล้วแหล่งของวิตามินซี เราสามารถหาได้จาก อาหารที่มีอยู่ในธรรมชาติทั่วไป แต่แหล่งที่มีมาก คือ ผักสดและผลไม้ต่างๆ โดยเทียบง่ายๆ จากประเภทของอาหาร (100 กรัม) และวิตามินซี (มิลลิกรัม)
ดังนี้ มะขามป้อม 276, ฝรั่ง 160, พุทรา 154, มะขามเทศ 133, มะปรางสุก 107, มะละกอสุก 73,แคนตาลูป 33, มะนาว 25 และมะยม 8
อย่างไรก็ตาม พึงตระหนักไว้ว่า “วิตามินซี” เป็นวิตามินที่มีความสำคัญเช่นเดียวกับวิตามินอื่นๆ และร่างกายไม่สามารถผลิตขึ้นได้เอง ดังนั้น ทุกคนจึงควรบริโภควิตามินซี แต่จะมากหรือน้อยนั้นก็ขึ้นอยู่กับความต้องของแต่ละบุคคล
พายเลมอน
ส่วนผสม 1 ปอนด์
•คุกกี้วานิลลาตามชอบ 250 กรัม
•เนยเหลว 60 กรัม
•ไข่ขาว 3 ฟอง
•น้ำตาลทรายละเอียด 175 กรัม
•แป้งข้าวโพด 1 ช้อนโต๊ะ
•ครีมคัสตาร์ดสำเร็จรูป 1 ถ้วย
•น้ำมะนาวคั้นสด 4 ช้อนโต๊ะ
•ผงเจลาติน 15 กรัม
•กลิ่นเลมอนตามชอบ
•แยมเลมอน
•อัลมอนขูดตามชอบ
วิธีทำ
1. บดคุกกี้ให้ละเอียดนำมาเคล้ากับเนยเหลวเคล้าให้เข้ากัน
2. จากนั้นนำไปใส่ลงในพิมพ์กดให้แน่นเตรียมไว้ ผสมครีมคัสตาร์ด ไข่ขาว น้ำตาล แป้งผงเจลาติน น้ำมะนาว และกลิ่นเข้าด้วยกันแล้วตีจนขึ้นฟู
3. นำมาเทลงบนพิมพ์คุกกี้นำเข้าอบด้วยความร้อน 350 ํF ประมาณ 15 นาทีจนสุก
4. พักให้เย็นลงก่อนทาด้วยแยมเลมอนนำไปแช่ให้เย็น พร้อมเสิร์ฟ
วันศุกร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553
พระราชวังฟงแตนโบล
พระราชวังฟงแตนโบล (อังกฤษ: Palace of Fontainebleau, ฝรั่งเศส: Château de Fontainebleau) เป็นพระราชวังที่ตั้งอยู่ราว 55 กิโลเมตรจากศูนย์กลางของกรุงปารีสในประเทศฝรั่งเศส ที่เป็นพระราชวังหลวงที่ใหญ่ที่สุดพระราชวังหนึ่งของฝรั่งเศส สิ่งก่อสร้างที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นงานที่สร้างขึ้นและต่อเติมเปลี่ยนแปลงโดยพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสหลายพระองค์ ส่วนที่ก่อสร้างในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เป็นส่วนที่สร้างโดยพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1
“พระราชวังฟงแตนโบล” ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกโดยองค์การยูเนสโกในปี ค.ศ. 1981
วังฟงแตนโบลเดิมตั้งอยู่ ณ ที่ตั้งที่ใช้สอยมาตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 12 ที่สร้างโดยพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 7 โดยมีทอมัส เบ็คเค็ทเป็นผู้ประกอบพิธีสถาปนาชาเปล ฟงแตนโบลเป็นที่ประทับอันเป็นที่โปรดปรานของพระเจ้าฟิลิปที่ 2 และ พระเจ้าหลุยส์ที่ 9
ผู้ที่มีบทบาทสำคัญในการสร้างพระราชวังที่เห็นกันอยู่ในปัจจุบันคือพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 โดยมีสถาปนิกชิลส์ เลอ เบรตอง (Gilles le Breton) เป็นผู้สร้างตัวตึกเกือบทุกหลังของ “ลานรูปไข่” (Cour Ovale) และรวมทั้ง “ประตูโดเร” (Porte Dorée) ที่เป็นทางเข้าด้านใต้ นอกจากนั้นพระเจ้าฟรองซัวส์ก็ยังทรงเชิญสถาปนิกเซบาสเตียโน แซร์ลิโอ จากอิตาลีมายังฝรั่งเศส และเลโอนาร์โด ดา วินชี ภายในตัวพระราชวังมีโถงระเบียงพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 (Francois I Gallery) ที่แล่นตลอดปีกหนึ่งของวังที่ตกแต่งด้วยจิตรกรรมฝาผนังในกรอบปูนปั้นแบบต่างๆ โดยรอซโซ ฟิโอเรนติโน (Rosso Fiorentino) ที่เขียนระหว่าง ค.ศ. 1522 ถึง ค.ศ. 1540 ซึ่งโถงระเบียงแรกที่ได้รับตกแต่งอย่างวิจิตรในฝรั่งเศส โดยทั่วไปแล้วก็เรียกได้ว่าฟงแตนโบลเป็นการเริ่มยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาของฝรั่งเศส
“ห้องเลี้ยงรับรอง” (Salle des Fêtes) ที่มาสร้างในรัชสมัยของพระเจ้าอองรีที่ 2 ตกแต่งโดยฟรันเชสโก ปรีมาติชโช และ นิโคโล เดลาบาเต (Niccolò dell'Abbate) ส่วน “นิมฟ์แห่งฟงแตนโบล” ที่เขียนโดยเบนเวนูโต เชลลินิ (Benvenuto Cellini) ที่เขียนให้แก่ฟงแตนโบลในปัจจุบันตั้งแสดงอยู่ที่พิพิธภัณฑ์ลูฟร์
การก่อสร้างครั้งใหญ่เริ่มขึ้นอีกครั้งในรัชสมัยของพระเจ้าอองรีที่ 2 และพระอัครมเหสีแคทเธอรีน เดอ เมดิชิ ผู้ทรงจ้างสถาปนิกฟิลิแบร์ต เดอ ลอร์ม และ ฌอง บุลลองท์ (Jean Bullant) ต่อมาพระเจ้าอองรีที่ 4 ก็ทรงตกแต่งฟงแตนโบลของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1 และ พระเจ้าอองรีที่ 2 โดยทรงเพิ่มลาน “Cour des Princes” และ “โถงระเบียงไดแอน เดอ ปัวติเยร์” และ “โถงระเบียงเซิร์ฟ” ที่ติดกันใช้เป็นห้องสมุด ในช่วงนี้ศิลปินของ “ตระกูลการเขียนฟงแตนโบลที่สอง” ก็เป็นผู้ดำเนินการตกแต่งแต่ก็ไม่มากเท่าใดนักและไม่เป็นงานต้นฉบับเท่ากับการตกแต่งในรัชสมัยของ “ตระกูลการเขียนฟงแตนโบลที่หนึ่ง” ในรัชสมัยของพระเจ้าฟรองซัวส์ที่ 1
พระเจ้าอองรีที่ 4 ทรงสร้างคลองขุดยาว 1200 เมตรในอุทยานป่าโปร่งที่ในปัจจุบันใช้ตกปลาได้ และทรงมีพระบรมราชโองการให้ปลูกสน, เอล์ม และไม้ผล อุทยานป่าโปร่งมีเนื้อที่ราว 80 เฮ็คตารโดยมีกำแพงร้อมรอบและถนนเป็นระยะๆ พนักงานอุทยานของพระเจ้าอองรีที่ 4 โคลด โมลเลต์ (Claude Mollet) ผู้ได้รับการฝึกหัดที่วังดาเนต์ (Château d'Anet) วางผังสวนแบบสวนพาร์แทร์ (Parterre) นอกจากนั้นก็ยังทรงสร้าง “jeu de paume” (ห้องเล่นเทนนิสโบราณ (Real tennis)) ที่ยังคงมีอยู่ให้เห็น ซึ่งเป็นห้องเล่นเทนนิสโบราณที่ใหญ่ที่สุดในโลกที่เป็นของสาธารณะ[2]
พระเจ้าฟิลิปที่ 4, พระเจ้าอองรีที่ 3 และ พระเจ้าหลุยส์ที่ 13 ต่างก็เสด็จพระราชสมภพที่ฟงแตนโบล และพระเจ้าฟิลิปเสด็จสวรรคตที่นี่ แขกของพระราชวังที่สำคัญๆ ก็ได้แก่สมเด็จพระราชินีนาถคริสติน่าแห่งสวีเดนผู้เสด็จมาประทับอยู่เป็นเวลาหลายปีหลังจากที่ทรงสละราชสมบัติในปี ค.ศ. 1654 ในปี ค.ศ. 1685 ฟงแตนโบลก็ใช้เป็นที่ลงนามพระราชกฤษฎีกาฟงแตนโบลที่เพิกถอนพระราชกฤษฎีกาแห่งนองซ์ (ค.ศ. 1598) ฟงแตนโบลเป็นที่ประทับของพระราชอาคันตุกะของกษัตริย์ราชวงศ์บูร์บองที่รวมทั้งพระเจ้าปีเตอร์มหาราชแห่งรัสเซีย และพระเจ้าคริสเตียนที่ 7 แห่งเดนมาร์ก
การปฏิวัติและจักรวรรดิ
ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสฟงแตนโบลถูกเปลี่ยนชื่อเป็น "Fontaine-la-Montagne" (น้ำพุใกล้เนินเขา, เนินเขาที่อ้างถึงคือบริเวณแนวเนินหินที่ตั้งอยู่ในป่าฟงแตนโบล)
เมื่อมาถึงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 พระราชวังก็ตกอยู่ในสภาพที่เสื่อมโทรมลงเป็นอันมาก ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเฟอร์นิเจอร์เดิมก็ถูกขายทอดไป ในช่วงเดียวกับที่เฟอร์นิเจอร์ของพระราชวังหลวงของฝรั่งเศสทั้งหลายถูกทำลายและขายไปจากทุกพระราชวังเพื่อหาทุนในการต่อต้านไม่ให้ราชวงศ์บูร์บองเข้ามาใช้ได้อีก แต่จะอย่างไรก็ตามภายในสิบปีหลังจากนั้นจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ก็ทรงเปลี่ยนโฉมของฟงแตนโบลให้กลายเป็นสัญลักษณ์ของความมียิ่งใหญ่และความรุ่งเรืองของฝรั่งเศสแทนที่พระราชวังแวร์ซายส์ที่ถูกทิ้งว่างไว้ ในปี ค.ศ. 1804 จักรพรรดินโปเลียนก็ทรงเจ้าภาพต้อนรับสมเด็จพระสันตะปาปาปิอุสที่ 7 ที่ฟงแตนโบลเมื่อเสด็จมาทำพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และอีกครั้งระหว่างปี ค.ศ. 1812 ถึงปี ค.ศ. 1814 เมื่อพระสันตะปาปาทรงถูกนำตัวมาเป็นนักโทษของนโปเลียน
เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1807 มานูเอล โกดอยมนตรีในพระเจ้าคาร์ลที่ 4 แห่งสเปน และ จักรพรรดินโปเลียนก็ลงนามในสนธิสัญญาฟงแตนโบลที่สเปนอนุญาตให้ฝรั่งเศสเดินทัพผ่านสเปนเพื่อไปรุกรานโปรตุเกส
เมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1814 ไม่นานก่อนที่จักรพรรดินโปเลียนจะทรงสละราชสมบัติ พระองค์ก็ทรงล่ำลากองทหารรักษาพระองค์เดิมที่รับราชการกับพระองค์มาตั้งแต่การรณรงค์ทางทหารครั้งแรกที่ “ลานม้าขาว” (la cour du Cheval Blanc) ที่หน้าวังฟงแตนโบล ซึ่งตั้งแต่นั้นมาก็ได้รับการเรียกว่า “ลานแห่งการอำลา” สนธิสัญญาฟงแตนโบล แห่ง ค.ศ. 1814 ปลดจักรพรรดินโปเลียนจากอำนาจ (แต่มิได้ถอดพระองค์ออกจากการเป็นจักรพรรดิแห่งฝรั่งเศส) และเนรเทศพระองค์ไปยังเกาะเอลบา
ในเดือนกรกฎาคม และ สิงหาคม ค.ศ. 1946 เมืองฟงแตนโบลก็เป็นเจ้าภาพการประชุมฝรั่งเศส-เวียดนามที่มีวัตถุประสงค์ในการหาวิธีแก้ปัญหาการแสวงหาอิสรภาพของเวียดนามจากฝรั่งเศส แต่เป็นการประชุมที่ประสบความล้มเหลว
ลักษณะสถาปัตยกรรม
ฟงแตนโบลเป็นสถาปัตยกรรมชิ้นแรกที่นำฝรั่งเศสเข้าสู่ยุคแมนเนอริสม์ในด้านการตกแต่งภายใน และทางด้านการออกแบบตกแต่งสวน การตกแต่งภายในแบบแมนเนอริสม์ของฝรั่งเศสในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เรียกกันว่าการตกแต่ง "แบบฟงแตนโบล" ที่เป็นการตกแต่งที่รวมทั้งงานประติมากรรม, งานโลหะ, จิตรกรรม, งานปูนปั้น และงานไม้ ส่วนภายนอกสิ่งก่อสร้างก็เริ่มมีการสวนแบบสวนลวดลาย (parterre) ฟงแตนโบลรวมจิตรกรรมที่เป็นอุปมานิทัศน์เข้ากับงานปูนปั้นที่เป็นกรอบรอบที่ตกแต่งคล้ายม้วนที่รวมลายอะราเบสก์ และลายวิลักษณ์ ความสวยของสตรีในอุดมคติของจิตรกรรมแบบฟงแตนโบลจะเป็นความสวยแบบแมนเนอริสม์: หัวเล็กบนคอยาว, เรือนร่างและแขนขาจะยาวกว่าปกติ หน้าอกเล็กและสูง—ที่เหมือนจะกลับไปมีลักษณะของปลายกอธิค งานศิลปะที่สร้างที่ฟงแตนโบลได้รับการบันทึกอย่างละเอียดเป็นงานพิมพ์ที่เป็นที่แพร่หลายกันในบรรดานักนิยมศิลปะ และ ศิลปินเอง งานที่สร้างเป็นงานพิมพ์จาก "ตระกูลการเขียนแบบฟงแตนโบล" ที่เป็นลักษณะของการงานศิลปะแบบใหม่ที่เป็นเอกลักษณ์เผยแพร่ไปยังบริเวณทางตอนเหนือของยุโรป โดยเฉพาะที่อันท์เวิร์พ และเยอรมนี และในที่สุดก็ไปถึงอังกฤษ
ปัจจุบัน
ในปัจจุบันฟงแตนโบลเป็นที่ตั้งของสถาบันศิลปะอเมริกันฟงแตนโบล (Écoles d'Art Américaines) ซึ่งเป็นสถาบันสำหรับนักศึกษาศิลปะ, สถาปัตยกรรม และ ดนตรีจากสหรัฐอเมริกา สถาบันก่อตั้งขึ้นโดยนายพลจอห์น เจ. เพอร์ชิง (John J. Pershing) เมื่อมาตั้งกองบัญชาการอยู่ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
อันตรายจากเครื่องสำอาง
ถึงแม้ว่าเครื่องสำอางจะเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอันตรายค่อนข้างต่ำ แต่บางครั้งผู้บริโภคใช้เครื่องสำอางแล้วอาจเกิดอาการข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์ได้ ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นบริเวณที่สัมผัสกับเครื่องสำอางโดยตรง อาจเกิดอาการได้ตั้งแต่ ระคายเคือง คัน แสบ ร้อน บวมแดง เป็นผื่น ผิวแห้งแตก ลอก ลมพิษ หรือมีอาการรุนแรงถึงขั้นเป็นแผลพุพอง น้ำเหลืองไหล แต่บางครั้งอาจพบความผิดปกติในบริเวณที่ไม่ได้สัมผัสกับเครื่องสำอางโดยตรงก็ได้ เช่น คันบริเวณเปลือกตา เนื่องจากแพ้สีทาเล็บที่ไปสัมผัสเปลือกตาโดยบังเอิญ
สาเหตุของการเกิดอาการข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์เหล่านี้ ได้แก่
1. อันตรายจากตัวผลิตภัณฑ์ เช่น เป็นเครื่องสำอางที่เก่า เสื่อมสภาพแล้ว อาจเนื่องจากผลิตมาเป็นเวลานาน หรือการเก็บรักษาไม่ดีพอ เป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย มีการลักลอบผสมสารห้ามใช้ จะสังเกตได้ว่ามักจะแสดงฉลากภาษาไทยไม่ครบถ้วน โดยเฉพาะไม่แสดงแหล่งผลิต หรือวันเดือนปีที่ผลิต สูตร ส่วนประกอบ หรือกรรมวิธีผลิตไม่เหมาะสม
2. การใช้ผิดวิธี ก่อนใช้เครื่องสำอางควรอ่านวิธีใช้ที่ฉลากให้เข้าใจ และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ใช้ให้ถูกคน ถูกเวลา ในปริมาณที่เหมาะสม โดยเฉพาะถ้าเป็นเครื่องสำอางควบคุมพิเศษ หรือเครื่องสำอางควบคุม มักจะมีคำเตือนและข้อควรระวัง รวมทั้งการทดสอบการแพ้ก่อนใช้ จึงต้องใช้ด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ การใช้เครื่องสำอางผิดวิธี ได้แก่
การโรยแป้งฝุ่นลงบนตัวทารกโดยตรง ผงแป้งจะฟุ้งกระจายไปทั่ว เมื่อเด็กสูดลมหายใจ จะได้ผงแป้งไปสะสมในปอด เป็นอันตรายต่อปอด การใช้เครื่องสำอางในปริมาณที่มากเกินไป หรือบ่อยเกินไป อาจทำให้เกิดอันตรายได้
เครื่องสำอางที่ระบุให้ใช้แล้วล้างออก ถ้าไม่ล้างออก ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน
การใช้ผิดเวลา เช่น ระบุให้ทาก่อนนอน (เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยากับแสงแดด) หากทาในตอนกลางวัน เมื่อโดนแสงแดด ก็อาจเกิดอันตรายได้ ใช้เครื่องสำอางแล้วไม่ปิดภาชนะบรรจุให้สนิท อาจมีฝุ่นละออง หรือเชื้อโรคลงไปปนเปื้อนได้
3. ตัวผู้บริโภคเอง เช่น วัยของผู้ใช้ เด็ก และผู้สูงอายุ ผิวหนังจะบอบบางและแพ้ง่ายกว่าวัยอื่น ตำแหน่งของผิวหนัง ผิวหนังบริเวณใบหน้า โดยเแพาะรอบดวงตา/ริมฝีปาก จะบอบบางกว่าบริเวณอื่น อาจเกิดการแพ้ หรือระคายเคืองได้ง่าย การแพ้เฉพาะบุคคล เช่น แพ้น้ำหอม หรือสารกันเสีย บางชนิด ความประมาทในการใช้เครื่องสำอาง เช่น แชมพูเข้าตาเวลาสระผม / ใช้เครื่องสำอางร่วมกับผู้อื่น แล้วติดเชื้อโรคมาด้วย / แต่งหน้าขณะอยู่ในรถ อาจเกิดอุบัติเหตุได้
บางครั้งเมื่อผู้บริโภคเลือกซื้อและใช้เครื่องสำอางด้วยความระมัดระวังแล้ว ก็ยังอาจเกิดอาการข้างเคียงที่ไม่ พึงประสงค์ได้บ้าง ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุต่างๆ ดังนี้
1. การระคายเคือง (Irritation) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายสัมผัสกับสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง (irritants) เช่น ผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นกรด หรือด่างสูงๆ (น้ำยาดัดผม , ผลิตภัณฑ์กำจัดขน , ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยให้ผิวหนังชั้นนอกหลุดลอกออกเร็วขึ้น) ความรุนแรงของการระคายเคืองจะขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสาร และระยะเวลาที่สารสัมผัสกับผิว การระคายเคืองนั้นเกิดขึ้นได้กับคนทุกคน และพบได้บ่อยกว่าการแพ้
2. การแพ้ (Allergy) เป็นปฏิกิริยาที่ซับซ้อนเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันของร่างกายของแต่ละคน จึงเป็นเรื่องเฉพาะบุคคล ผู้บริโภคอาจเกิดความผิดปกติขึ้นทันทีที่สัมผัสกับสารที่ก่อให้เเกิดการแพ้ (Allergen) หรือมีอาการภายหลังก็ได้ และผู้ที่แพ้สารใดแล้ว เมื่อสัมผัสกับสารนั้นเพียงเล็กน้อยก็จะเกิดอาการแพ้ขึ้นได้
สารที่พบว่าก่อให้เกิดการแพ้ได้บ่อยเป็นอันดับหนึ่ง คือ สารแต่งกลิ่นหอม (fragrance / perfume) รองลงมาได้แก่สารกันเสีย (preservatives) และสารป้องกันแสงแดด (sunscreens)
ขณะนี้มีการโฆษณาผลิตภัณฑ์ด้วยข้อความ "ไฮโป-อัลเลอร์เจนิก (Hypoallergenic)" หรือข้อความอื่นๆที่สื่อความหมายในทำนองเดียวกัน เช่น ผ่านการทดสอบโดยแพทย์ผิวหนัง , ผ่านการทดสอบการแพ้ (dermatologist test/ allergy test) ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ประกอบธุรกิจ จึงมักจะเน้นแต่ข้อดีของผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมการขาย โดยเฉพาะเรื่องการแพ้ เป็นเรื่องเฉพาะบุคคล ไม่มีผลิตภัณฑ์ใดที่สามารถรับประกันได้ว่าไม่ก่อให้เกิดการแพ้ ดังนั้น ผู้บริโภคพึงไตร่ตรองข้อมูลต่างๆอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
สาเหตุของการเกิดอาการข้างเคียงอันไม่พึงประสงค์เหล่านี้ ได้แก่
1. อันตรายจากตัวผลิตภัณฑ์ เช่น เป็นเครื่องสำอางที่เก่า เสื่อมสภาพแล้ว อาจเนื่องจากผลิตมาเป็นเวลานาน หรือการเก็บรักษาไม่ดีพอ เป็นเครื่องสำอางที่ไม่ปลอดภัย มีการลักลอบผสมสารห้ามใช้ จะสังเกตได้ว่ามักจะแสดงฉลากภาษาไทยไม่ครบถ้วน โดยเฉพาะไม่แสดงแหล่งผลิต หรือวันเดือนปีที่ผลิต สูตร ส่วนประกอบ หรือกรรมวิธีผลิตไม่เหมาะสม
2. การใช้ผิดวิธี ก่อนใช้เครื่องสำอางควรอ่านวิธีใช้ที่ฉลากให้เข้าใจ และปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ใช้ให้ถูกคน ถูกเวลา ในปริมาณที่เหมาะสม โดยเฉพาะถ้าเป็นเครื่องสำอางควบคุมพิเศษ หรือเครื่องสำอางควบคุม มักจะมีคำเตือนและข้อควรระวัง รวมทั้งการทดสอบการแพ้ก่อนใช้ จึงต้องใช้ด้วยความระมัดระวังเป็นพิเศษ การใช้เครื่องสำอางผิดวิธี ได้แก่
การโรยแป้งฝุ่นลงบนตัวทารกโดยตรง ผงแป้งจะฟุ้งกระจายไปทั่ว เมื่อเด็กสูดลมหายใจ จะได้ผงแป้งไปสะสมในปอด เป็นอันตรายต่อปอด การใช้เครื่องสำอางในปริมาณที่มากเกินไป หรือบ่อยเกินไป อาจทำให้เกิดอันตรายได้
เครื่องสำอางที่ระบุให้ใช้แล้วล้างออก ถ้าไม่ล้างออก ก็อาจก่อให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน
การใช้ผิดเวลา เช่น ระบุให้ทาก่อนนอน (เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยากับแสงแดด) หากทาในตอนกลางวัน เมื่อโดนแสงแดด ก็อาจเกิดอันตรายได้ ใช้เครื่องสำอางแล้วไม่ปิดภาชนะบรรจุให้สนิท อาจมีฝุ่นละออง หรือเชื้อโรคลงไปปนเปื้อนได้
3. ตัวผู้บริโภคเอง เช่น วัยของผู้ใช้ เด็ก และผู้สูงอายุ ผิวหนังจะบอบบางและแพ้ง่ายกว่าวัยอื่น ตำแหน่งของผิวหนัง ผิวหนังบริเวณใบหน้า โดยเแพาะรอบดวงตา/ริมฝีปาก จะบอบบางกว่าบริเวณอื่น อาจเกิดการแพ้ หรือระคายเคืองได้ง่าย การแพ้เฉพาะบุคคล เช่น แพ้น้ำหอม หรือสารกันเสีย บางชนิด ความประมาทในการใช้เครื่องสำอาง เช่น แชมพูเข้าตาเวลาสระผม / ใช้เครื่องสำอางร่วมกับผู้อื่น แล้วติดเชื้อโรคมาด้วย / แต่งหน้าขณะอยู่ในรถ อาจเกิดอุบัติเหตุได้
บางครั้งเมื่อผู้บริโภคเลือกซื้อและใช้เครื่องสำอางด้วยความระมัดระวังแล้ว ก็ยังอาจเกิดอาการข้างเคียงที่ไม่ พึงประสงค์ได้บ้าง ซึ่งอาจเกิดจากสาเหตุต่างๆ ดังนี้
1. การระคายเคือง (Irritation) เป็นปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเมื่อร่างกายสัมผัสกับสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง (irritants) เช่น ผลิตภัณฑ์ที่มีความเป็นกรด หรือด่างสูงๆ (น้ำยาดัดผม , ผลิตภัณฑ์กำจัดขน , ผลิตภัณฑ์ที่ช่วยให้ผิวหนังชั้นนอกหลุดลอกออกเร็วขึ้น) ความรุนแรงของการระคายเคืองจะขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสาร และระยะเวลาที่สารสัมผัสกับผิว การระคายเคืองนั้นเกิดขึ้นได้กับคนทุกคน และพบได้บ่อยกว่าการแพ้
2. การแพ้ (Allergy) เป็นปฏิกิริยาที่ซับซ้อนเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันของร่างกายของแต่ละคน จึงเป็นเรื่องเฉพาะบุคคล ผู้บริโภคอาจเกิดความผิดปกติขึ้นทันทีที่สัมผัสกับสารที่ก่อให้เเกิดการแพ้ (Allergen) หรือมีอาการภายหลังก็ได้ และผู้ที่แพ้สารใดแล้ว เมื่อสัมผัสกับสารนั้นเพียงเล็กน้อยก็จะเกิดอาการแพ้ขึ้นได้
สารที่พบว่าก่อให้เกิดการแพ้ได้บ่อยเป็นอันดับหนึ่ง คือ สารแต่งกลิ่นหอม (fragrance / perfume) รองลงมาได้แก่สารกันเสีย (preservatives) และสารป้องกันแสงแดด (sunscreens)
ขณะนี้มีการโฆษณาผลิตภัณฑ์ด้วยข้อความ "ไฮโป-อัลเลอร์เจนิก (Hypoallergenic)" หรือข้อความอื่นๆที่สื่อความหมายในทำนองเดียวกัน เช่น ผ่านการทดสอบโดยแพทย์ผิวหนัง , ผ่านการทดสอบการแพ้ (dermatologist test/ allergy test) ข้อมูลเหล่านี้มาจากผู้ประกอบธุรกิจ จึงมักจะเน้นแต่ข้อดีของผลิตภัณฑ์ เพื่อส่งเสริมการขาย โดยเฉพาะเรื่องการแพ้ เป็นเรื่องเฉพาะบุคคล ไม่มีผลิตภัณฑ์ใดที่สามารถรับประกันได้ว่าไม่ก่อให้เกิดการแพ้ ดังนั้น ผู้บริโภคพึงไตร่ตรองข้อมูลต่างๆอย่างรอบคอบก่อนตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์
วันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2553
ประโยชน์ของสมุนไพร
1. ใช้สกัดน้ำมันหอมระเหย สมุนไพรในกลุ่มนี้เป็นพวกที่มีน้ำมันหอมระเหยอยู่ในตัว สามารถนำมาสกัดโดยวิธี นำมากลั่น ซึ่งจะมีกลิ่นและปริมาณที่แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับชนิดของสมุนไพร สมุนไพรที่น้ำมันหอมระเหยที่รู้จัก กันดี ได้แก่ ตะไคร้หอม น้ำมันตะไคร้หอมนำมาใช้ในอุตสาหกรรมผลิตสบู่ แชมพู น้ำหอม และสารไล่แมลง ไพล น้ำมันไพล ใช้ในผลิตภัณฑ์ครีมทาภายนอก ลดการอักเสบฟกช้ำ กระวาน น้ำมันกระวนนใช้แต่งกลิ่นเหล้า เครื่องดื่มต่าง ๆ และอุตสาหกรรมน้ำหอม พลู น้ำมันพลู ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องสำอางค์ หรือเจลทาภายนอกแก้อาการคัน
2. ใช้เป็นยารับประทาน มีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถนำมาใช้รับประทานเพื่อรักษาอาการของโรคต่าง ๆ เช่น ได้แก่ แก้ไข เจ็บคอ บอระเพ็ด ฟ้าทะลายโจร แก้ท้องอึด ท้องเฟ้อ กระเพรา ไพล ขิง ระงับประสาท ขี้เหล็ก ไมยราพ ลดไขมันในเส้นเลือด คำฝอย กระเจี๊ยบแดง กระเทียม
3. ใช้เป็นยาทาภายนอก เป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณบำบัดโรคที่เกิดตามผิวหนัง รวมทั้งแผลที่เกิดในช่องปาก ได้แก่ รักษาแผลในปาก บัวบก หว้า โทงเทง ระงับกลิ่นปาก ฝรั่ง กานพลู แก้แพ้ ผักบุ้งทะเล เสลดพังพอน ตำลึง เท้ายายม่อม รักษาแผลน้ำร้อนลวก บัวบก ยาสูบ ว่านหางจรเข้ งูสวัด ตำลึง พุดตาน ว่านมหากาฬ เสลดพังพอน
4.ใช้ทำเป็นส่วนผสมของอาหารและเครื่องดื่ม เป็นเครื่องดื่มที่สกัดจากธรรมชาติที่ยังให้ประโยชน์ในการรักษาโรค ควบคู่ไปด้วย ได้แก่ บุก ให้ประโยชน์ในการดูดจับไขมันจากเส้นเลือด ลดน้ำหนัก ส้มแขก ดูดไขมัน ลดน้ำหนัก หญ้าหนวดแมว ลดน้ำหนัก บำรุงสุขภาพ
5. ใช้ทำเครื่องสำอางค์ มีสมุนไพรหลายชนิดในปัจจุบันที่นิยมใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องสำอางค์ และได้รับความ นิยมอย่างดี เนื่องจากผู้ใช้มั่นใจว่าปลอดภัยมากกว่าการใช้สารเคมี ได้แก่ ว่านหางจรเข้ อัญชัน มะคำดีควาย โดยนำมา ใช้เป็นส่วนผสมของแชมพู ครีมนวดผม สบู โลชั่นบำรุงผิว
6. ใช้เป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช มักเป็นสมุนไพรจำพวกที่มีฤทธิ์เบื่อเมา หรือมีรสขม ข้อดีคือไม่มีฤทธิ์ตกค้าง ที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สะเดา ยาสูบ ตะไคร้หอม ไพล เป็นต้น
7. ใช้บริโภคเป็นอาหารและเครื่องเทศ สมุนไพรในกลุ่มนี้จัดว่าเป็นพืชผักสมุนไพร นั่นเองสามารถนำมารับประทาน ให้คุณค่าทางอาหาร เพิ่มรสชาติ ดับกลิ่นคาว และยังช่วยย่อยอาหาร ได้แก่ กระเพรา โหระพา แมงลัก ผักชี สะระแหน่ ขิง ข่า กระชาย บางชนิดเป็นพืชผักสมุนไพรเมืองหนาว เช่น พาร์สเร่ย์ หรือผักชีฝรั่ง เฟนเนล (ผักชีลาว) เปบเปอร์มิ้นท์ ออริกาโน่ ทีม ไชฟ์ ดิล มาร์เจอร์แรม เซจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพืชพุ่มเตี้ย ใช้ส่วนของใบมาทานสด หรือแก้ง เป็นเครื่องเทศ ชูรส เป็นต้น 8.ปลอดภัย สมุนไพรส่วนมากมีฤทธิ์อ่อน ไม่เป็นพิษหรือมีอาการข้างเคียงมาก แตกต่างกับยาแผน ปัจจุบันที่บางครั้งจะมีฤทธิ์เฉียบพลันถ้าบริโภคเกินขนาดเพียงเล็กน้อยอาจเสียชีวิตได้
9. ประหยัด ราคาของสมุนไพรถูกกว่ายาแผนปัจจุบันมาก เนื่องจากเป็นทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว จึง ควรอย่างยิ่งที่เราจะนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์เพิ่มมากขึ้น ทั้งยังช่วยกันลดดุลการค้าที่เสียบเปรียบต่างประเทศ เป็นการสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของชาติอีกด้วย
10. เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ห่างไกล คนไข้ที่อยู่ตามชนบท บางครั้งไม่สามารถมารับบริการจากสถานบริการทางการแพทย์แผนปัจจุบันได้ควรใช้สมุนไพรที่เชื่อถือได้รักษาโรค
11. ไม่ต้องกลัวปัญหาขาดแคลนยา ปัจจุบันมียาหลายตัวที่ทำมาจากวัตถุเคมีที่ได้จากผลิตผลของน้ำมัน ซึ่งปัจจุบันน้ำมันก็เริ่มจะขาดแคลนทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างถูกกระทบกระเทือนรวมไปถึงการรักษาโรค เราจึงต้องศึกษาเกี่ยวกับยาสมุนไพรและนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์มากขึ้น
12. เป็นพืชเศรษฐกิจ ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรที่ใช้ในประเทศ และเพื่อการส่งออกอย่างจริงจัง และต้องคำนึงถึงผลผลิตที่มีคุณภาพดีและต้นทุนต่ำสำหรับการส่งออกในรูปของสารสกัด ทำให้ได้ราคาดีกว่าการส่งออกในรูปวัตถุดิบ
2. ใช้เป็นยารับประทาน มีสมุนไพรหลายชนิดที่สามารถนำมาใช้รับประทานเพื่อรักษาอาการของโรคต่าง ๆ เช่น ได้แก่ แก้ไข เจ็บคอ บอระเพ็ด ฟ้าทะลายโจร แก้ท้องอึด ท้องเฟ้อ กระเพรา ไพล ขิง ระงับประสาท ขี้เหล็ก ไมยราพ ลดไขมันในเส้นเลือด คำฝอย กระเจี๊ยบแดง กระเทียม
3. ใช้เป็นยาทาภายนอก เป็นสมุนไพรที่มีสรรพคุณบำบัดโรคที่เกิดตามผิวหนัง รวมทั้งแผลที่เกิดในช่องปาก ได้แก่ รักษาแผลในปาก บัวบก หว้า โทงเทง ระงับกลิ่นปาก ฝรั่ง กานพลู แก้แพ้ ผักบุ้งทะเล เสลดพังพอน ตำลึง เท้ายายม่อม รักษาแผลน้ำร้อนลวก บัวบก ยาสูบ ว่านหางจรเข้ งูสวัด ตำลึง พุดตาน ว่านมหากาฬ เสลดพังพอน
4.ใช้ทำเป็นส่วนผสมของอาหารและเครื่องดื่ม เป็นเครื่องดื่มที่สกัดจากธรรมชาติที่ยังให้ประโยชน์ในการรักษาโรค ควบคู่ไปด้วย ได้แก่ บุก ให้ประโยชน์ในการดูดจับไขมันจากเส้นเลือด ลดน้ำหนัก ส้มแขก ดูดไขมัน ลดน้ำหนัก หญ้าหนวดแมว ลดน้ำหนัก บำรุงสุขภาพ
5. ใช้ทำเครื่องสำอางค์ มีสมุนไพรหลายชนิดในปัจจุบันที่นิยมใช้เป็นส่วนผสมของเครื่องสำอางค์ และได้รับความ นิยมอย่างดี เนื่องจากผู้ใช้มั่นใจว่าปลอดภัยมากกว่าการใช้สารเคมี ได้แก่ ว่านหางจรเข้ อัญชัน มะคำดีควาย โดยนำมา ใช้เป็นส่วนผสมของแชมพู ครีมนวดผม สบู โลชั่นบำรุงผิว
6. ใช้เป็นผลิตภัณฑ์ป้องกันกำจัดศัตรูพืช มักเป็นสมุนไพรจำพวกที่มีฤทธิ์เบื่อเมา หรือมีรสขม ข้อดีคือไม่มีฤทธิ์ตกค้าง ที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ สะเดา ยาสูบ ตะไคร้หอม ไพล เป็นต้น
7. ใช้บริโภคเป็นอาหารและเครื่องเทศ สมุนไพรในกลุ่มนี้จัดว่าเป็นพืชผักสมุนไพร นั่นเองสามารถนำมารับประทาน ให้คุณค่าทางอาหาร เพิ่มรสชาติ ดับกลิ่นคาว และยังช่วยย่อยอาหาร ได้แก่ กระเพรา โหระพา แมงลัก ผักชี สะระแหน่ ขิง ข่า กระชาย บางชนิดเป็นพืชผักสมุนไพรเมืองหนาว เช่น พาร์สเร่ย์ หรือผักชีฝรั่ง เฟนเนล (ผักชีลาว) เปบเปอร์มิ้นท์ ออริกาโน่ ทีม ไชฟ์ ดิล มาร์เจอร์แรม เซจ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพืชพุ่มเตี้ย ใช้ส่วนของใบมาทานสด หรือแก้ง เป็นเครื่องเทศ ชูรส เป็นต้น 8.ปลอดภัย สมุนไพรส่วนมากมีฤทธิ์อ่อน ไม่เป็นพิษหรือมีอาการข้างเคียงมาก แตกต่างกับยาแผน ปัจจุบันที่บางครั้งจะมีฤทธิ์เฉียบพลันถ้าบริโภคเกินขนาดเพียงเล็กน้อยอาจเสียชีวิตได้
9. ประหยัด ราคาของสมุนไพรถูกกว่ายาแผนปัจจุบันมาก เนื่องจากเป็นทรัพยากรที่มีอยู่แล้ว จึง ควรอย่างยิ่งที่เราจะนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์เพิ่มมากขึ้น ทั้งยังช่วยกันลดดุลการค้าที่เสียบเปรียบต่างประเทศ เป็นการสอดคล้องกับภาวะเศรษฐกิจของชาติอีกด้วย
10. เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ห่างไกล คนไข้ที่อยู่ตามชนบท บางครั้งไม่สามารถมารับบริการจากสถานบริการทางการแพทย์แผนปัจจุบันได้ควรใช้สมุนไพรที่เชื่อถือได้รักษาโรค
11. ไม่ต้องกลัวปัญหาขาดแคลนยา ปัจจุบันมียาหลายตัวที่ทำมาจากวัตถุเคมีที่ได้จากผลิตผลของน้ำมัน ซึ่งปัจจุบันน้ำมันก็เริ่มจะขาดแคลนทำให้ทุกสิ่งทุกอย่างถูกกระทบกระเทือนรวมไปถึงการรักษาโรค เราจึงต้องศึกษาเกี่ยวกับยาสมุนไพรและนำมาใช้ให้เป็นประโยชน์มากขึ้น
12. เป็นพืชเศรษฐกิจ ส่งเสริมการปลูกสมุนไพรที่ใช้ในประเทศ และเพื่อการส่งออกอย่างจริงจัง และต้องคำนึงถึงผลผลิตที่มีคุณภาพดีและต้นทุนต่ำสำหรับการส่งออกในรูปของสารสกัด ทำให้ได้ราคาดีกว่าการส่งออกในรูปวัตถุดิบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)