วันศุกร์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

เทศกาลอิสเตอร์


อีสเตอร์
อีสเตอร์คือเทศกาลหนึ่งในฤดูใบไม้ผลิ
ซึ่งในประเทศที่นับถือคริสตศาสนา อีสเตอร์คือการเฉลิมฉลองวันหยุดทางศาสนาซึ่งเป็นวันที่พระเยซูคริสต์พระบุตรของพระเจ้าได้ทรงฟื้นพระชนม์ขึ้นจากความตาย แต่ นอกจากการเฉลิมฉลองเทศกาลอีสเตอร์นี้แล้วยังมีการฉลองในลักษณะประเพณีต่างๆ
และจากตำนานต่างๆซึ่งมาจากที่มาทางศาสนาที่แตกต่างกัน และไม่ได้เกี่ยวข้องกับความเชื่อทางศาสนาคริสต์
นักวิชาการทางด้านศาสนาได้ยอมรับต้นตอที่มาของคำว่าอีสเตอร์ซึ่งศึกษาโดยนักวิชาการทางด้านศาสนาชาวอังกฤษอังกฤษในศตวรรษที่8 ที่ชื่อว่าเซนต์ เบเด(St.Bede) ซึ่งเชื่อว่า ชื่อ"Easter" นั้นมาจากภาษาสแกนดิเนเวียนว่า"OSTRA" และในภาษาทิวโทนิค(ภาษาพื้นเมืองสแกนดิเนวีย)ว่า"Ostern" หรือ "Eastre" ซึ่งเป็นชื่อของเทพธิดาแห่งเทพปกรณัมผู้ที่นำฤดูใบไม้ผลิและการเจริญพันธุ์และยังเป็นผู้ที่ถูกสักการะและเฉลิมฉลองในวันที่เรียกว่าVernal Equinox(วันในฤดูใบไม้ผลิที่มีกลางวันและกลางคืนเท่าๆกันพอดี)
และประเพณีที่เกี่ยวข้องกับ การฉลองเทศกาลแห่งการมีชีวิตอยู่ โดยใช้กระต่ายอีสเตอร์เป็นสัญลักษณ์และการเจริญพันธุ์ซึ่งใช้ไข่อีสเตอร์เป็นสัญญลักษณ์ซึ่งไข่เหล่านั้นถูกทาสีอย่างสดใสและสวยงามซึ่งแสดงให้เห็นถึงความหมายของแสงอาทิตย์ที่สดใสในฤดูใบไม้ผลิและถูกใช้ในการแข่งขันโยนไข่อีสเตอร์(เป็นประเพณีอย่างนึงในวันอีสเตอร์)และไข่อีสเตอร์ยังใช้มอบให้เป็นของขวัญแก่กันด้วย
การเฉลิมฉลองของชาวคริสต์ในเทศกาลอีสเตอร์ นั้นเกิดจากการนำเอาหลายประพณีมารวมกันซึ่งโดยรวมแล้วมีความเกี่ยวข้องกันระหว่างเทศกาลอีสเตอร์
และเทศกาลPassover หรือเทศกาลปัสกาของชาวยิวนั่นเอง หรืออีกชื่อนึงซึ่งชาวยุโรปชอบเรียกกันคือเทศกาลPasch ซึ่งใช้เรียกวันอีสเตอร์ในแถบยุโรปนั่นเอง
เทศกาลปัสกานั้นคือเทศกาลเฉลิมฉลอง ที่สำคัญมากในชาวยิวซึ่งเป็นการฉลองต่อเนื่องเป็นเวลา 8 วันเพื่อระลึกถึงการเดินทางมายังดินแดนแห่งพันธะสัญญา(คานาอัน)และการเป็นอิสระของชนชาติอิสราเอลจากการตกเป็นทาสในอียิปต์
ซึ่งคริสเตียนรุ่นหลังๆที่มีเชื้อสายยิวได้นำเอาประเพณีฮิบรู (ยิว)รวมถึงเทศกาลอีสเตอร์ในฐานะของเทศกาลปัสกายุคใหม่ ซึ่งเป็นการระลึกถึงพระเมสไซอาห์(พระเยซู)ซึ่งได้มีผู้เผยพระวจนะได้ทำนายไว้ล่วงหน้า (หาอ่านเพิ่มเติมได้ในเศคาริยาห์ 9:9)
เทศกาลอีสเตอร์ได้ถูกรักษาไว้โดยเคร่งครัดเริ่มโดยคริสตจักรในประเทศทางตะวันตกโดยนับเอาวันอาทิตย์แรกหลังจากวันพระจันทร์เต็มดวงซึ่งเกิดขึ้นหลังวัน Vernal Equinox (21มีนาคม) ดังนั้นวันอีสเตอร์จึงเป็นเทศกาลที่ไม่มีวันที่ที่แน่นอน แต่จะเคลื่อนไปมาทุกปีอยู่ระหว่างวันที่ 22 มีนาคม ถึง 25 เมษายน
คริสตจักรในประเทศทางตะวันตกซึ่งอยู่ใกล้กับที่เกิดของศาสนาคริสต์และยังต้องดำรงประเพณีดั้งเดิมอย่างเข้มแข็ง ได้รักษาวันอีสเตอร์ไว้ในช่วงเวลาเดียวกันกับเทศกาลปัสกา
วันอีสเตอร์ยังเป็นวันสิ้นสุดของเทศกาลมหาพรต(Lenten Season)ซึ่งครอบคลุมเวลา 46วัน ซี่งเริ่มในวันที่เรียกว่า วันพุธรับเถ้า(Ash Wednesday) และจบลงในวันอีสเตอร์ แต่เฉพาะเทศกาลมหาพรตเองนั้นมีกำหนดเวลา 40 วัน เพราะจะไม่นับวันอาทิตย์ทั้ง 6 วันรวมอยู่ในเทศกาลมหาพรตด้วย(เทศกาลมหาพรตเป็นเทศกาลของศาสนาคริสต์นิกายคาทอลิค)
สัปดาห์ศักสิทธิ์(Holy Week) คือสัปดาห์สุดท้ายของเทศกาลมหาพรต ซึ่งเริ่มต้นในวันปาล์มซันเดย์ซึ่งเป็นวันที่พระเยซูทรงเสด็จเข้ากรุงเยรูซาเลมอย่างผู้พิชิต (อ่านเพิ่มเติมได้ในมัทธิว 21:1 ถึง 11)และฝูงชนโห่ร้องต้อนรับพระองค์และได้เอาใบปาล์มโบกต้อนรับและเอาเสื้อผ้าปูลงตามทางเพื่อให้พระองค์ทรงดำเนินผ่าน เพราะพระลักษณะที่พระองค์เสด็จมานั้นตรงกับพระวจนะของพระเจ้าที่มีผู้เผยพระวจนะทำนายไว้ล่วงหน้า (เศคาริยาห์ 9:9)
และในวันพฤหัสศักสิทธิ์เป็นที่ระลึกถึงวันที่พระองค์ทรงรับประทานอาหารร่วมกับสาวกของพระองค์เป็นมื้อสุดท้าย(The Last Supper)
ซึ่งเกิดขึ้นในตอนเย็นก่อนวันที่พระองค์จะถูกตรึงบนไม้กางเขน และในวันศุกร์ของสัปดาห์ศักสิทธิ์นี้ถูกเรียกว่าวันศุกร์ประเสริฐ(Good Friday)ซึ่งเป็นวันที่พระองค์ทรงถูกตรีงและสิ้นพระชนม์บนไม้กางเขน
สัปดาห์ศักสิทธิ์และเทศกาลมหาพรตนั้นจะสิ้นสุดพร้อมกันใน วันอาทิตย์ซึ่งเป็นวันอีสเตอร์ ซึ่งเป็นวันที่พระเยซูคริสต์พระบุตรของพระเจ้าทรงฟื้นคืนพระชนม์ขี้นมาจากความตายนั่นเอง

แม่ชีเทเรซา


ประวัติ
วัยเยาว์
แม่ชีเทเรซา เกิดเมื่อวันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2453 (ค.ศ. 1910) ที่เมืองสโกเปีย จักรวรรดิออตโตมัน (ปัจจุบันคือเมืองหลวงของประเทศมาซิโดเนีย) เป็นบุตรคนสุดท้องของบิดานิโกลา (Nikola) กับมารดาเดรน (Drane Bojaxhiu) ครอบครัวชนชั้นกลางเชื้อสายอัลเบเนีย เธอมีชื่อเดิมว่า "แอ็กเนส กอนจา โบยาจู" (Agnes Gonxha Bojaxhiu) มีบิดาเป็นชาวคริสต์ที่เคร่งครัดในหลักศาสนา ซึ่งทำให้ตั้งแต่วัยเด็กแอ็กเนสชอบไปโบสถ์ฟังหลวงพ่อเทศน์มาโดยตลอด
ขณะแอ็กเนสมีอายุ 9 ปี ในปี พ.ศ. 2462 (ค.ศ. 1919) บิดาของเธอได้เสียชีวิตลง แต่ความอบอุ่นภายในครอบครัวที่แอ็กเนสได้รับก็ไม่ได้ลดลง ด้วยเพราะมารดายังให้ความรักความอบอุ่นและการเลี้ยงดูที่ดีมาตลอด แอ็กเนสเติบโตขึ้นเป็นเด็กร่าเริง และมีสุขภาพดี และไม่นานต่อมาเธอก็ได้รู้จักกับประเทศอินเดีย แต่ก็ได้รู้ว่าอินเดียในขณะนั้นมีระบบสาธารณูปโภคที่ยังล้าหลังอยู่มาก มีคนยากไร้มากมายในประเทศที่ต้องทนทรมาน และเริ่มสงสัยว่า จะมีวิธีใดบ้างไหมที่เธอจะได้ช่วยเหลือผู้ทุกข์ยากในอินเดีย ซึ่งในช่วงเวลานี้นี่เองที่แอ็กเนสเริ่มมีความคิดที่จะบวชเป็นแม่ชี ในปี พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928) แอ็กเนสตัดสินใจขออนุญาตครอบครัวเพื่อขอบวชเป็นแม่ชี ตอนแรกครอบครัวคัดค้าน แต่ต่อมาไม่กี่วันทางครอบครัวก็ยอมให้เธอบวช แอ็กเนสเดินทางไปบวชที่สำนักชีโลเรโต (Sisters of Loreto) ในกรุงดับลิน ประเทศไอร์แลนด์ ซึ่งการลาจากจากครอบครัวของเธอในครั้งนี้จะเป็นครั้งสุดท้ายที่เธอจะได้เห็นหน้าของแม่และน้องสาว แอ็กเนสตั้งใจศึกษาเล่าเรียนวิชาที่แม่ชีพึงได้เรียนเป็นเวลา 1 เดือน หลังจากนั้นจึงเดินทางไปยังประเทศอินเดียในเดือนธันวาคมปีเดียวกัน และได้เริ่มออกเผยแผ่คำสอนในเมืองดาร์จีลิง รัฐสิกขิม ทางเหนือของประเทศอินเดีย โดยเธอได้พักอยู่ที่สำนักชีโลเรโตที่ตั้งอยู่ที่เมืองดาร์จีลิง
พ.ศ. 2474 (ค.ศ. 1931) แอ็กเนสตัดสินใจเข้าสาบานตนเป็นแม่ชีในสำนักชีโลเรโต ในเมืองดาร์ลีจิงเป็นครั้งแรก และตอนนี้เองที่แอ็กเนสได้รับสมญาทางศาสนา (ชื่อทางศาสนา) ว่า แม่ชีเทเรซา และแม่ชีเทเรซา ได้สาบานตนครั้งสุดท้ายใน พ.ศ. 2480 (ค.ศ. 1937)
หลังจากสาบานตนเป็นแม่ชีครั้งสุดท้ายแล้ว แม่ชีเทเรซาได้เข้าเป็นครูวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ในโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรีย ในเมืองเอนทาลี นครกัลกัตตา ไม่นาน ก็ได้เป็นครูใหญ่ของโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรีย พาตนเองและเหล่านักเรียนผ่านเหตุการณ์เลวร้าย ที่เกิดจากผลกระทบของเหตุการณ์รุนแรงและสงครามที่เกิดขึ้นต่อเนื่องในอินเดียมาได้ด้วยดี
ภารกิจการกุศล
เมื่อวันที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2489 (ค.ศ. 1946) ขณะที่แม่ชีเทเรซากำลังนั่งรถไฟกลับไปยังสำนักชีที่ทาร์จีลิง ระหว่างทางเธอก็ได้ยินพระวจนะของพระเจ้า ซึ่งเนื้อหาที่พระเจ้าพูดกับแม่ชีเทเรซาในขณะนั้น ทำให้แม่ชีเทเรซาตัดสินใจขออนุญาตไปทำงานในสลัม เพื่อช่วยเหลือคนยากจน แต่การทำแบบนั้นถ้าหากทำโดยไม่ได้รับการอนุญาตเป็นพิเศษจะถือว่ามีความผิดทางศาสนา แม่ชีเทเรซาจึงขอให้บาทหลวงใหญ่ (หัวหน้าบาทหลวง ในชุมชนหนึ่งๆ ซึ่งอาจอยู่ตั้งแต่ระดับเมือง ภูมิภาค หรือประเทศ จะมีเพียงหนึ่งท่าน) ขอร้องไปยังพระสันตะปาปา ให้อนุญาตแม่ชีเทเรซาเป็นกรณีพิเศษ
ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2491 (ค.ศ. 1948) แม่ชีเทเรซาได้รับอนุญาตเป็นพิเศษให้ไปทำงานในสลัมได้ แต่ก่อนนั้นต้องให้มีความรู้เพียงพอเสียก่อน ซึ่งเธอก็ได้เดินทางไปศึกษาวิชาพยายาลที่โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในเมืองปัตนา รัฐพิหาร เมื่อศึกษาจบแม่ชีเทเรซาก็ได้ก่อตั้งโรงเรียนกลางแจ้งในสลัม มีเด็กๆ ให้ความสนใจมาเรียนกันมามากมาย หลังจากนั้นไม่นานก็เริ่มมีศิษย์เก่าจากโรงเรียนสตรีเซนต์มาเรียมาขอบวชเป็นผู้ช่วยแม่ชีเทเรซา โดยคนแรกที่มาขอบวช คือ "สวาชินี ดาส" เมื่อบวชแล้วได้รับสมญาทางศาสนาว่า "แม่ชีแอ็กเนส" และไม่นานก็มีศิษย์เก่ามาบวชเพิ่มอีกถึง 10 คนในวันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2493 (ค.ศ. 1950) บาทหลวงใหญ่ได้ตั้งกลุ่มของแม่ชีเทเรซาให้เป็นองค์กรอิสระทางศาสนา มีชื่อว่า "คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า" (Missionaries of Charity) โดยแม่ชีเทเรซาได้เป็นหัวหน้าองค์กร ซึ่งนับตั้งแต่นั้นมาผู้คนส่วนใหญ่มักเรียกแม่ชีเทเรซาว่า คุณแม่เทเรซา (Mother Teresa)วันหนึ่งแม่ชีเทเรซาได้คิดที่จะสร้างบ้านหลังหนึ่ง เพื่อให้ผู้หิวโหยที่นอนรอความตายอยู่ข้างถนนนั้นได้มานอนตายอย่างสงบ และด้วยเหตุนี้ท่านจึงขอยืมให้วัดกาลีของศาสนาฮินดูใช้เป็น "บ้านของผู้รอความตาย" (Home for the Dying) โดยเริ่มเปิดใช้ในปี พ.ศ. 2495 (ค.ศ. 1952) แต่ชาวฮินดูพอสมควรที่ไม่เห็นด้วยกับการที่คุณแม่เทเรซาซึ่งเป็นชาวคริสต์ จะมาใช้วัดของชาวฮินดูเป็นสถานที่ แต่เมื่อผู้บัญชาการตำรวจเข้าไปคุยกับคุณแม่เทเรซา ก็ได้ผลสรุปว่าคุณแม่เทเรซายังใช้สถานที่วัดกาลีอยู่ได้ต่อ เมื่อปี พ.ศ. 2498 (ค.ศ. 1955) มีผู้ใจบุญบริจาคบ้านให้แก่คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า เพื่อให้ทางคณะฯ ได้ใช้งานบ้านให้เป็นประโยชน์ต่อคุณแม่เทเรซาและส่วนรวม คุณแม่เทเรซาได้ตัดสินใจใช้บ้านหลังนี้ในการรับเลี้ยงเด็กกำพร้า ตั้งชื่อว่า "บ้านเด็กใจบุญ" (Children's Home of the Immaculate Heart)
พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957) คุณแม่เทเรซาเริ่มใช้รถพยาบาลเคลื่อนที่ออกรักษาผู้ป่วยที่เป็นชาวไร่ชาวนา โดยโรคที่ชาวไร่ชาวนาป่วยมากที่สุดคือ โรคเรื้อน แต่ในช่วงนั้นสังคมอินเดียยังมองเห็นผู้ป่วยโรคเรื้อนเป็นสิ่งน่ารังเกียจ ผู้ป่วยโรคเรื้อนจึงคิดว่าคนเองไม่มีค่า คุณแม่เทเรซาจึงเริ่มคิดถึงปัญหานี้
พ.ศ. 2508 (ค.ศ. 1965) ที่ทำการของแม่ชีเทเรซาที่อยู่นอกประเทศอินเดียเริ่มเปิดทำการ มีทั้งในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย ไม่กี่ปีต่อมา ผู้ว่าการรัฐเบงกอลตะวันตกได้ให้คุณแม่เทเรซายืมใช้แปลงที่ดินที่เมืองอาซันซอลขนาด 140,000 ตารางเมตร (ประมาณ 87.5 ไร่) เพื่อให้ใช้เป็นสถานสงเคราะห์ผู้ป่วยโรคเรื้อน คุณแม่เทเรซาได้แบ่งสรรที่ดินไว้อย่างลงตัว แต่ไม่มีเงินจะสร้างสิ่งปลูกสร้างที่ได้ออกแบบไว้ คุณแม่เทเรซานั่งครุ่นคิดอยู่สักพักก็นึกขึ้นได้ว่าพระสันตะปาปาเคยมอบรถยนต์เปิดประทุนสีขาวบริสุทธิ์ชั้นดี ถ้าขายเฉยๆ จะได้ราคา 100,000 รูปี (ประมาณ 400,000 บาท) แต่นั่นยังไม่เพียงพอ คุณแม่เทเรซาตัดสินใจทำสลาก โดยเอารถคันนั้นเป็นรางวัล ทำสลาก 5,000 ใบ ขายสลากใบละ 100 รูปี (ประมาณ 400 บาท) ใครถูกรางวัลจะได้รับรถพระสันตะปาปาไป การขายสลากแบบนี้ คณะมิชชันนารีของคุณแม่เทเรซา ได้รับเงินถึง 500,000 รูปี (ประมาณ 2,000,000 บาท) ในที่สุดคณะมิชชันนารีของคุณแม่เทเรซาก็ได้สร้างที่ดินขนาดกว่า 80 ไร่ ให้เป็นหมู่บ้านในฝันของผู้ป่วยโรคเรื้อนได้สำเร็จใน พ.ศ. 2511 (ค.ศ. 1968) ตั้งชื่อว่า "หมู่บ้านสันติสุข" มีทั้งโรงพยาบาลและที่อยู่ทั้งสำหรับเหล่าแม่ชีและเหล่าผู้ป่วย มีผู้ป่วยโรคเรื้อนขอเข้ารับการรักษาที่หมู่บ้านสันติสุขนี้มากกว่า 15,000 คน ไม่นานหลังจากนั้น แม่ชีเทเรซา ก็เปิดที่ทำการอีกแห่งหนึ่ง คราวนี้เป็นการนำกาบมะพร้าวมีรีไซเคิล โดยนำใยมะพร้าวด้านในมาผลิตเป็นสินค้า ตั้งแต่แปรงขัดหม้อ จนถึงพรมนุ่มๆ สินค้าบางชิ้นมีคุณภาพดี ก็สามารถนำไปขายในเมืองได้ไม่นานต่อมา คุณแม่เทเรซาเมื่อรู้ว่า สายการบินต่างๆ จะจัดการอาหารที่ผู้โดยสารกินเหลือโดยการทิ้งทั้งหมด จึงไปขอให้บริษัทสายการบินแอร์อินเดีย มอบอาหารที่ผู้โดยสารกินเหลือมาเป็นอาหารแก่เด็กๆ ใน บ้านเด็กใจบุญ ในปี พ.ศ. 2522 (ค.ศ. 1979) คุณแม่เทเรซาได้รับเกียรติให้รับรางวัลโนเบล สาขาสันติภาพ ในฐานะ "สำหรับการอาสาต่อสู้เพื่อลดความยากจนทุกข์ยากซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการนำไปสู่ความสงบสุขและสันติ" (for work undertaken in the struggle to overcome poverty and distress, which also constitute a threat to peace.) นอกจากนี้ คุณแม่เทเรซาปฏิเสธงานเลี้ยงฉลองที่ท่านได้รับรางวัลโนเบล และขอใหผู้ที่ทำเค้กฉลองมาแล้ว นำเค้กไปมอบให้คนยากคนจน คุณแม่เดินทางไปเยือนประเทศญี่ปุ่นในปี พ.ศ. 2524 (ค.ศ. 1981) ซึ่งก็ได้ตระเวนปราศรัยไปตามที่ต่างๆ ในประเทศ เนื้อหาส่วนใหญ่คือ ความเหลื่อมล้ำในสังคม การรังเกียจคนจรจัด การกลั่นแกล้งประทุษร้ายกันในญี่ปุ่นพ.ศ. 2525 (ค.ศ. 1982) อิสราเอลมีสงครามกับองค์กรปลดปล่อยปาเลสไตน์ จนเกิดการสู้รบรุนแรงในแถบเอเชียตะวันตก คุณแม่เทเรซาก็เดินทางเข้าไปเพื่อช่วยเหลือเด็กๆ ที่ติดค้างในสถานที่ต่างๆ มาได้ 37 คนแม่ชีเทเรซา รับของขวัญจากประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน ภาพนี้ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2528 (ค.ศ. 1985)
บั้นปลายชีวิต
พ.ศ. 2526 (ค.ศ. 1983) ขณะคุณแม่เทเรซาไปเยี่ยมสถานสงเคราะห์แห่งหนึ่งในอิตาลี ทานก็เริ่มป่วยเป็นโรคหัวใจ และมีอาการกำเริบครั้งแรก โดยมีหัวใจเต้นอ่อนเกินไป แต่ปลอดภัย หลังจากนั้น คุณแม่เทเรซาก็ทำงานอยู่เหมือนปกติ แต่อาการโรคหัวใจก็มาเยือนอยู่เรื่อยๆ จนในที่สุด คุณแม่เทเรซา ได้ยื่นจดหมายต่อพระสันตะปาปา ว่า ขอลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าคณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้า พร้อมกับอยากให้มีการเลือกตั้งขึ้นเพื่อเลือกผู้ที่จะมาสืบทอดตำแหน่งจากตน ตอนแรกเหล่าแม่ชีต่างคัดค้าน แต่เมื่อรู้ว่าคุณแม่เทเรซาจะให้จัดการเลือกตั้งผู้สืบทอดตำแหน่ง จึงเทคะแนนเสียงให้คุณแม่เทเรซา แล้วผลการเลือกตั้งก็คือ คุณแม่เทเรซาก็ได้รับเลือกตั้งกลับมาเป็นหัวหน้าคณะฯ อีกครั้ง
การทำงานของท่านก็มีอาการโรคหัวใจกำเริบมารบกวนท่านบ่อยขึ้น อาการป่วยในระดับหนักมากเกิดขึ้นกับแม่ชีเทเรซาอีกใน พ.ศ. 2532 (ค.ศ. 1989) และอีกครั้งใน พ.ศ. 2539 (ค.ศ. 1996) หลังจากนั้น คุณแม่เทเรซา ก็ป่วยหนักถึงขนาดล้มหมอนนอนเสื่อ ลุกนั่งไม่ได้เมื่อคุณแม่เห็นว่าตนคงไม่อาจปฏิบัติหน้าที่ได้ ในวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) จึงได้ลาออกจากตำแหน่งหัวหน้าคณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้าอีกครั้ง ครั้งนี้เหล่าแม่ชีเห็นว่า คุณแม่เทเรซาควรได้พักผ่อน เพื่อต่อสู้กับโรคร้าย จึงไม่คัดค้านในการลาออกของคุณแม่เทเรซา และไม่เทคะแนนเสียงให้คุณแม่เทเรซา เพื่อให้คุณแม่ได้พักรักษาตัวไม่ต้องมีภารกิจ ดังนั้นแม่ชีนิรุมาราได้รับเลือกเป็นหัวหน้าคณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้าแทนคุณแม่เทเรซา
5 เดือนครึ่งต่อมา ในวันที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2540 (ค.ศ. 1997) คุณแม่เทเรซาได้เสียชีวิตลงที่บ้านของคุณแม่ในอินเดีย ขณะอายุ 87 ปี กับอีก 10 วัน โดยคำพูดคำสุดท้ายที่คุณแม่ได้พูดออกมาคือ "หายใจไม่ออกแล้ว" ทางการอินเดียได้จัดพิธีศพของคุณแม่เทเรซาอย่างยิ่งใหญ่ เป็นงานศพระดับชาติ (งานศพของบุคคลที่ทุ่มเทอุทิศตนเพื่อประเทศนั้นๆ) ของทางการอินเดียในช่วงเวลาที่คุณแม่เสียชีวิต คณะมิชชันนารีแห่งความรักของพระเจ้ามีแม่ชีมากว่า 4,000 คนและอาสาสมัครกว่าอีก 1 แสนคน ซึ่งอัตรานี้ครอบคลุมไปถึงกว่า 610 แห่ง 123 ประเทศทั่วโลก ปัจจุบันร่างของแม่ชีนอนหลับอยู่ที่บ้านคุณแม่ในอินเดีย
เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2546 (ค.ศ. 2003) สมเด็จพระสันตะปาปาจอห์น ปอลที่ 2 ได้ประกาศให้คุณแม่เป็น นักบุญราศี

วันศุกร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

orange


Did you know. Eating oranges to benefiting the body. Today's Daily News Online has the benefit of each orange to leave ... According to several national studies. On consumption of lime or orange wood scrap to conclude that the health benefit, eat orange leaves per day. Will help relegate cancer to get clear of some possible ". Research Organization of Science and Industrial Research Commonwealth Government of Australia indicated that they eat fruits, lemon or orange Helps protect the mouth, larynx cancer and stomach into the half. And eat more fruits and vegetables per day and five meals on a regular basis. It will further help prevent paralysis again to 19 percent with the disease. Class fruit, lemon or orange Prevent disease because the body is a detoxification properties of it. Together with landscape maintenance. Value disease to healthy Not to inhibit cancer progression. Cancer cells to restore and maintain good too. I knew this already. If you want good health. Try to find orange mesh better.

Foie gras

Foie served a picnic with bread mold Foie fungi (Foie gras) is translated correlate that fat liver goose liver or duck that is fatten up. Foie mold is known as the best French food. Like Waffle Truck. It looks soft and tastes different from normal liver of duck or goose in 2548 The worldwide production of Foie Travel approximately 23,500 tons of these, France is the largest manufacturer of 18,450 tons or hundreds. All 75 of the 96 percent of French Foie fungi from Eebeped and 4 percent from France Goose Liver Foie Consumer Travel in the Year 2548 production of 19,000 tons Hungary Foie mold second largest. Export largest one is 1,920 tons in 2548 BC with nearly all exports to France

เปย์ เดอ ลา ลัวร์


Epit de la Loire is a resident of the castle the elegant old monastery church and the Roman vineyard quality. Due to the warm weather and moisture from the ocean. Regions Epit de la Loire has a variety of terrain, mountains and vineyards of the watershed to the special atmosphere. Completely natural here than lectures. In particular, the National Brière and Vendée-Val de Sèvre But while the community, big key for many more such as Angers, the capital of Provence-Anjou, Nantes city, pleasant and beautiful with flowers colorful under the custody of strong fortress since ancient times, Saumur city comfortable place to live, Le Mans Pearl of Anjou regional festivals are also a lively show with singing and dancing and playing numerous summer. It is also excellent sources of many types of food such as minced pork Rillettes special seasoning chicken meat packed within delicious apple. Freshwater soft. Young calves, all of which are components of the local cuisine and a wide range of delicious recipes. The sailing paradise of Au fil de l'eau. Regions Epit de la Loire River flows through rivers such as Loire River Man ¸ Sar to make it a source of transportation interests and sources of surf boat trip You can cruise to enjoy the nature every nook and cranny of this nation has many forms. Whether it's electric sightseeing boat near downtown tattoo 2-3 hours eating delicious food on board. Canoeing downstream the river throughout the day. Or rent a boat cruise along the river to enjoy the nature walk and visit to visit the city. Or to visit the castle and the beautiful different places. The waterfront as Yenjai emotional comfort.

French


French (français, French pronunciation: [fʁɑ̃sɛ]) is a Romance language spoken as a first language by about 136 million people worldwide.[1][3] Around 190 million people speak French as a second language,[10] and an additional 200 million speak it as an acquired foreign language.[11] French speaking communities are present in 57 countries and territories.[4] Most native speakers of the language live in France, where the language originated. The rest live essentially in Canada, particularly Quebec, New Brunswick and Ontario, as well as Belgium, Switzerland, Luxembourg, and certain places in the U.S. states of Maine[12] and Louisiana.[13] Most second-language speakers of French live in Francophone Africa, arguably exceeding the number of native speakers.[14]
French is a descendant of the Latin language of the Roman Empire, as are national languages such as Italian, Portuguese, Spanish and Romanian, and minority languages ranging from Occitan to Neapolitan and many more. Its closest relatives however are the other langues d'oïl and French-based creole languages. Its development was also influenced by the native Celtic languages of Roman Gaul and by the (Germanic) Frankish language of the post-Roman Frankish invaders.
It is an official language in 29 countries, most of which form what is called, in French, La Francophonie, the community of French-speaking countries. It is an official language of all United Nations agencies and a large number of international organizations. According to the European Union, 129 million (or 26% of the Union's total population), in 27 member states speak French, of which 65 million are native speakers and 69 million claim to speak French either as a second language or as a foreign language, making it the third most spoken second language in the Union, after English and German. Twenty-percent of non-Francophone Europeans know how to speak French, totaling roughly 145.6 million people.[15] In addition, prior to the mid 20th century, French served as the pre-eminent language of diplomacy among European and colonial powers as well as a lingua franca among the educated classes of Europe.
As a result of France's extensive colonial ambitions between the 17th and 20th centuries, French was introduced to America, Africa, Polynesia, and the Caribbean.